Home ข่าวทั่วไปรอบวัน ระวังดาบ 2 จาก UN – ไม่ยอมรับผลเลือกตั้ง

ระวังดาบ 2 จาก UN – ไม่ยอมรับผลเลือกตั้ง

571
0
SHARE
FILE PHOTO: Secretary General of the United Nations Antonio Guterres addresses the United Nations Security Council on "mediation and its role in conflict", during an open debate on maintenance of international peace and security at the United Nations Headquarters in New York City, New York, U.S., August 29, 2018. REUTERS/Andrew Kelly

 

 

 

นายชวลิต วิชยสุทธิ์ อดีตรองเลขาธิการพรรคเพื่อไทย แถลงแก่ผู้สื่อข่าวเมื่อเช้าวันที่ 14 ก.ย.2561 ว่า

 

“สถานการณ์ปัจจุบันเริ่มเข้าโหมดการเลือกตั้งแล้ว ทำอย่างไรที่ทุกภาคส่วนจะร่วมมือกันทำให้การเลือกตั้งเป็นไปอย่างเสรี และเป็นธรรม เพื่อสร้างความเชื่อมั่นประเทศ พล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรี เคยให้สัมภาษณ์เป็นนักการเมืองที่เคยเป็นทหารมาก่อน อยากเห็นการเลือกตั้งในระบบยุติธรรม ดังนั้นเพื่อร่วมกันสร้างความเชื่อมั่น รัฐบาลควรแสดงสปิริตให้ประชาชนและชาวโลกเห็นระบุว่า สถานการณ์ขณะนี้ คือ

 

1.หัวหน้า คสช.นายกรัฐมนตรี ยังรักษาการและมีอำนาจพิเศษตามมาตรา 44(ม.44) บังคับใช้ไปจนกว่าการจัดตั้งรัฐบาล หลังเลือกตั้งแล้วเสร็จ ซึ่งจะทำให้การเลือกตั้งครั้งนี้แปลกที่สุดในโลก ที่คนนอกไม่ได้ลงสมัครรับเลือกตั้ง เป็นยักษ์ถือกระบองคุมการเลือกตั้ง และตนเองมีสิทธิ์กลับมาเป็นนายกรัฐมนตรีต่อ

 

2.องคาพยพของรัฐบาล ตั้งแต่รองนายกฯ ลงมา ประกาศสนับสนุน พล.อ.ประยุทธ์  เป็นนายกฯต่อ อีกทั้งยังมีการเตรียมการให้รัฐมนตรีในคณะรัฐบาล มาเป็นผู้บริหารพรรคการเมืองที่จัดตั้งไว้ ไม่นับรวมกลุ่มการเมืองพลังดูดทั้งหลายประกาศสนับสนุน พล.อ.ประยุทธ์ เป็นนายฯต่อ

 

พฤติการณ์ที่ยังคงอำนาจพิเศษดังกล่าวข้างต้นไว้ และยังรักษาการอยู่ จะทำให้การเลือกตั้งครั้งนี้เข้ากับคำพังเพยไทยที่ว่าเหมือนกับปิดประตูตีแมว เป็นการเอาเปรียบกันอย่างมาก เหตุการณ์จะคล้ายกับการทำประชามติรัฐธรรมนูญปี 2560 ที่ผ่านมา อันจะส่งผลให้การเลือกตั้งไม่ได้รับการยอมรับ ส่งผลเสียต่อความเชื่อมั่นประเทศ

 

หลังจากประเทศไทยเพิ่งถูกสหประชาชาติ(ยูเอ็น) ขึ้นบัญชีดำเป็นประเทศที่น่าละอาย ด้วยเหตุมีการข่มขู่ คุกคามประชาชนที่ให้ความร่วมมือกับยูเอ็น ในการต่อต้านการละเมิดสิทธิมนุษยชน ซึ่งประชาชนคนไทยทั้งประเทศก็ต้องแบกรับความน่าละอายดังกล่าวไว้ด้วย    จึงขอเรียกร้องให้รัฐบาลแสดงสปิริตเลิกอำนาจพิเศษตาม ม.44 และการรักษาการระหว่างเลือกตั้ง เพื่อให้การเลือกตั้งเป็นไปอย่างเสรีและเป็นธรรม อย่าให้ประเทศไทยถูกดาบสองจากยูเอ็น และนานาชาติ ที่จะไม่ยอมรับการเลือกตั้งทั่วไป ซึ่งจะส่งผลเสียหายตามมาอีกมากมาย ทั้งทางด้านเศรษฐกิจ สังคม และการเมืองระหว่างประเทศ โดยเฉพาะจะกระทบต่อเกียรติยศ ศักดิ์ศรีของประเทศ ซึ่งเป็นสิ่งสูงสุดของชาติ”

 

U.N. decries “shameful” reprisals on rights activists in 38 countries

 

GENEVA, Sept 12 (Reuters) – The United Nations listed 38 “shameful” countries including China and Russia on Wednesday which it said had carried out reprisals or intimidation against people cooperating with it on human rights, through killings, torture and arbitrary arrests.

 

The annual report from U.N. Secretary-General Antonio Guterres also included allegations of ill-treatment, surveillance, criminalisation, and public stigmatisation campaigns targeting victims and human rights defenders.

 

“The world owes it to those brave people standing up for human rights, who have responded to requests to provide information to and engage with the United Nations, to ensure their right to participate is respected,” Guterres wrote.

 

“Punishing individuals for cooperating with the United Nations is a shameful practice that everyone must do more to stamp out.”

 

The 38 countries included 29 countries with new cases, and 19 with ongoing or continuing cases.

 

The new cases were in Bahrain, Cameroon, China, Colombia, Cuba, Democratic Republic of Congo, Djibouti, Egypt, Guatemala, Guyana, Honduras, Hungary, India, Israel, Kyrgyzstan, Maldives, Mali, Morocco, Myanmar, Philippines, Russian Federation, Rwanda, Saudi Arabia, South Sudan, Thailand, Trinidad and Tobago, Turkey, Turkmenistan, and Venezuela.

 

Governments frequently charged human rights activists with terrorism or blamed them for cooperating with foreign entities or damaging the state’s reputation or security, it said.

 

“(There is a) disturbing trend in the use of national security arguments and counter-terrorism strategies by states as justification for blocking access by communities and civil society organisations to the United Nations,” the report said.

 

Women cooperating with the U.N. had reported threats of rape and being subject to online smear campaigns, and U.N. staff often encountered people who were too afraid to speak to them, even at U.N. headquarters in New York and Geneva.

 

U.N. Assistant Secretary-General for Human Rights Andrew Gilmour, who will present the report to the Human Rights Council next week, said in a statement that the cases in the report were the tip of the iceberg.

 

“We are also increasingly seeing legal, political and administrative hurdles used to intimidate – and silence – civil society,” he said.

 

Some of the countries listed are current members of the Human Rights Council, which adopted a resolution last year reaffirming that everyone – individually or in association with others – had a right to unhindered communication with the U.N. (Reporting by Tom Miles; editing by Stephanie Nebehay and Matthew Mpoke Bigg)

 

คลิกอ่านข่าวรอยเตอร์

https://goo.gl/2C91n8

 

 

 

 

matemnews.com 

14  กันยายน 2561